สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดอันดับใน TOP 2% แรกของโลก โดยทางทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา (Stanford University, USA) ซึ่งรวบรวมข้อมูลผลงานของนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำมากกว่า 100,000 คน คิดจากข้อมูลผลงานตีพิมพ์ จำนวนการอ้างอิง และ h-index ในฐานข้อมูล Scopus ตลอดชีวิตการทำงานของนักวิจัย (Career-long Citation Impact) และข้อมูล 1 ปี (Single Year Citation Impact) โดยแบ่งออกเป็น 22 สาขา 174 สาขาย่อย ตามมาตรฐานการจัดหมวดหมู่ของ Science-Metrix โดยมาจากการศึกษาเรื่อง “Updated science-wide author databases of standardized citation indicators” ในวารสารวิชาการนานาชาติ PLOS BIOLOGY ซึ่งใช้ตัวชี้วัดที่หลากหลาย (citations, h-index, co-authorship adjusted hm-index, citations to papers in different authorship positions and a composite indicator (c-score))
โดยแบ่งรายชื่อนักวิทยาศาสตร์และการจัดอันดับนักวิทยาศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภท (การจัดอันดับดังกล่าว ได้ใช้ข้อมูลการถูกอ้างอิง (citation) ของบทความวิชาการในฐานข้อมูล Scopus ของนักวิจัย ปรับปรุงเป็นข้อมูลล่าสุด วันที่ 1 สิงหาคม 2566) แบ่ง 2 ประเภท
1. ผลกระทบการอ้างอิงตลอดชีพสูงที่สุด (career-long citation impact)โดยใช้ข้อมูลถึงสิ้นปี ค.ศ. 2023 ซึ่งมีรายชื่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกในปีนี้ 217,097 ท่าน ในไทย 250 ท่าน โดยมีอาจารย์และนักวิจัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ติดอันดับ 14 ท่าน ประกอบด้วย
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ คณะแพทยศาสตร์ Tropical Medicine
รองศาสตราจารย์ ดร.อนุกร ภู่เรืองรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์ Applied Physics
อาจารย์ BRUCE RICHARD PRIDEAUX คณะการบริการและการท่องเที่ยว วิทยาเขตภูเก็ต Marketing
ศาสตราจารย์ ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ คณะวิทยาศาสตร์ Energy
ศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร คณะวิทยาศาสตร์ Organic Chemistry
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล คณะวิทยาศาสตร์ Organic Chemistry
ศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล คณะแพทยศาสตร์ Obstetrics & Reproductive Medicine
ศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร Food Science
ศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ คณะเภสัชศาสตร์ Food Science
รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงสุภิญญา ติ๋วตระกูล คณะเภสัชศาสตร์ Plant Biology & Botany
รองศาสตราจารย์ ดร. RAYMOND JAMES RITCHIE คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม วิทยาเขตภูเก็ต Paleontology
รองศาสตราจารย์ ดร.เถวียน วิทยา คณะอุตสาหกรรมเกษตร Biotechnology
2. ผลกระทบการอ้างอิงเฉพาะปี ค.ศ. 2023 สูงที่สุด(citation impact during the single calendar year 2023) ซึ่งมีรายชื่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกในปีนี้ 223,152 ท่าน ในไทย 392 ท่าน โดยมีอาจารย์และนักวิจัยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ติดอันดับ 30 ท่าน
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ คณะแพทยศาสตร์ Tropical Medicine
รองศาสตราจารย์ ดร.อนุกร ภู่เรืองรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์ Applied Physics
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย คณะวิทยาศาสตร์ Medicinal & Biomolecular Chemistry
รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้ออนันต์ เตชะโต คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม Environmental Sciences
อาจารย์ BRUCE RICHARD PRIDEAUX คณะการบริการและการท่องเที่ยว วิทยาเขตภูเก็ต Marketing
ศาสตราจารย์ ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ์ คณะวิทยาศาสตร์ Energy
รองศาสตราจารย์ ดร.รณสรรพ์ ชินรัมย์ คณะวิทยาศาสตร์ Applied Mathematics
ศาสตราจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ พงษ์ไพจิตร คณะวิทยาศาสตร์ Organic Chemistry
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วัชรินทร์ รุกขไชยศิริกุล คณะวิทยาศาสตร์ Organic Chemistry
ศาสตราจารย์ ดร.ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล คณะแพทยศาสตร์ Obstetrics & Reproductive Medicine
ศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรธีระพล ศรีชนะ คณะเภสัชศาสตร์ Analytical Chemistry
ศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร Food Science
ศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ คณะเภสัชศาสตร์ Food Science
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์บุญเสริม วิทยชำนาญกุล คณะนวัตกรรมการเกษตร ประมง และอาหาร วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี Neurology & Neurosurgery
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นายแพทย์ธีระ พิรัชวิสุทธิ์ คณะแพทยศาสตร์ General & Internal Medicine
รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธา สุวรรณบูรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ Applied Physics
รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงสุภิญญา ติ๋วตระกูล คณะเภสัชศาสตร์ Plant Biology & Botany
รองศาสตราจารย์ ดร. เภสัชกรหญิงประภาพร บุญมี คณะเภสัชศาสตร์ Materials
รองศาสตราจารย์ ดร. RAYMOND JAMES RITCHIE คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม วิทยาเขตภูเก็ต Paleontology
รองศาสตราจารย์ ดร.กรรณิการ์ สหกะโร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาเขตปัตตานี Materials
Mr.SHAHARIAR CHOWDHURY คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม Applied Physics
รองศาสตราจารย์ ดร.อนุรักษ์ สันป่าเป้า คณะทรัพยากรธรรมชาติ Microbiology
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิทธิพล จีระพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์ Energy
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.KEVIN FUCHS คณะการบริการและการท่องเที่ยว วิทยาเขต Sport, Leisure & Tourism
รองศาสตราจารย์ ดร.เถวียน วิทยา คณะอุตสาหกรรมเกษตร Biotechnology
ดร.ธีรเดช เสนาสุ คณะวิทยาศาสตร์ Organic Chemistry
อ้างอิง : สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หาดใหญ่ | ม.อ. คว้าอันดับ 8 มหาวิทยาลัยในไทย จากการประกาศผลโดย QS
7 พฤศจิกายน 2567 | 4,851สะเดา | ขอแสดงความยินดี นายชนาธิป ชูแก้ว รร.สะเดาขรรค์ชัยฯ
14 ตุลาคม 2567 | 4,793สงขลา | ชาวสงขลา เห็นด้วยหรือไม่ ?
3 ตุลาคม 2567 | 4,512สงขลา | นำร่องค้นหาเด็กหลุดจากระบบการศึกษากลับมาเรียนอีกครั้ง
16 กันยายน 2567 | 4,693หาดใหญ่ | ม.อ. มหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ อันดับ 1 ของภาคใต้
12 กันยายน 2567 | 4,509หาดใหญ่ | ครบรอบ 70 ปี โรงเรียนพลวิทยา มองอนาคตพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
9 สิงหาคม 2567 | 11,763สงขลา | เดินหน้าติดตาม! เด็กนักเรียนออกกลางคันกลับสู่โรงเรียน
5 สิงหาคม 2567 | 4,647หาดใหญ่ | เคาะวันจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ม.อ. วันที่ 8-10 สิงหาคม
17 กรกฎาคม 2567 | 11,582